Q: บริษัทมีหลักเกณฑ์อย่างไรในการรับประกันสินค้า

A: การรับ Claim ยางของบริษัท

  หลักเกณฑ์ในการ  CLAIM  ยาง  ของ  บจกอุตสาหกรรมผลิตยางไทยสิน

 

  1.     ยางที่รับ  CLAIM จะต้องผลิตโดยโรงงานไทยสิน  (TSR.)  เท่านั้น  โดยมี  LOGO  ดังนี้
  • HAMPION
  • DRAGON  FLY   (แมลงปอ)
  • LION  HEAD  (หัวสิงห์)
  • RHINO  (แรด)
  1.     ยางที่รับ  CLAIM  จะต้องเป็นยางที่ขายไปในเกรด  (A)  เท่านั้น  ยางเกรด  (B)  หรือยางตำหนิที่จำหน่ายไปไม่รับ  CLAIM
  2.    ยางที่รับ  CLAIM  จะต้องมีอายุนับตั้งแต่วันผลิตไม่เกิน  3 ปี  ยกเว้นยางที่ไม่มี  SERIAL  NO.
  3.    ยางที่ผลิตจาก  บจก.  อุตสาหกรรมผลิตยางไทยสิน  แต่นำไปหล่อดอกใหม่  ไม่รับ  CLAIM
  4.    ยางที่เสียหาย  เนื่องจากเป็นความบกพร่องของผู้ใช้  ไม่รับ  CLAIM  สาเหตุต่างๆที่ไม่รับ  CLAIM  มีคร่าวๆดังนี้

ชื่อสาเหตุ

คำแปล

คำย่อ

ลักษณะที่เกิด

  1.     SHOCK BURST

กระแทกระเบิด

-

ผู้ใช้สูบลมมาก

  1.     TREAD  CUT

หน้ายางโดนของมีคมตัดขาด

-

ผู้ใช้วิ่งไปโดนของมีคม

  1.     RUN  FLAT

วิ่งบด

-

ลมไม่พอ  หรือยางในรั่ว

  1.     TREAD  REPAIR  CUT

ยางถูกของมีคมบาดจากการซ่อมดอกยาง

-

ผู้ใช้ทำเอง

  1.     CUT  BURST

ยางโดนบาดแล้วระเบิด

-

เกิดจากผู้ใช้

  1.     RIM  CUT

กระทะล้อกัด

-

กระทะล้อเป็นสนิมมาก

  1.      ยางนอกรถยนต์ที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว  เกินกว่า  70 %  ไม่รับ  CLAIM  โดยวัดจากความลึกของร่องดอกที่เหลือ  เทียบกับความลึกร่องดอกมาตรฐาน  เป็นเกณฑ์                                       

 

         ยางที่เสียหายเนื่องจากเป็นความผิดพลาดในการผลิต  รับ  CLAIM โดยคิดเป็น% ตามความสึกของดอกยางที่ใช้ไป

ชื่อสาเหตุ

คำแปลภาษาไทย

คำย่อ

ลักษณะที่เกิด

BEAD  BURST

ขอบยางระเบิด

-

SAFETY FACTOR ไม่พอ หรือ  บรรทุก  OVERLOAD

UNDER  CURE

ยางสุกไม่เต็มที่

-

อุณหภูมิในการ  CURE  ผิดปกติ

TREAD  SEPATATION  BURST

หน้ายางร่อนระเบิด

TRAED  SEPT

มีF.M.  หรือความชื้นอยู่ระหว่างชั้นผ้าใบกับหน้ายาง  หรือ  TREAD  ไม่ติดกับ  BASE

INNER   PLY  SEPATATION

ผ้าใบท้องยางร่อน

INNER  PLY  SEPT

มีF.M. หรือความชื้นอยู่ในชั้นผ้าใบที่ท้องยางหรือชั้นผ้าใบไม่ติดกับท้องยาง

PLY  SEPATATION  BURST

ผ้าใบร่อนระเบิด

PLY  SEPT  BURST

มีF.M. หรือความชื้นอยู่ในระหว่างชั้นผ้าใบหรือผ้าใบไม่ติดกัน

BREAKER  SEPATATION

ผ้าเบรกเกอร์ร่อน

BREAKER  SEPT

มีF.M. หรือความชื้นอยู่ในชั้นBREAKER

SHOULDER  CRACKS

ไหล่ยางแตก,  หลุด

-

ยางผสมไม่เข้ากัน  (POOR  MIX)

LOOSE  WIRE

ขอบลวดหลวม

-

B.I.C. ลวดผิดSpec.  หรือผิดจากแผนกสร้างโครง

OPEN  MOLD

ฝาพิมพ์ปิดไม่แน่น

-

จากเครื่องนึ่งยาง

FOREIGN  MATERIAL

มีสิ่งแปลกปลอมในยาง

F.M.

มีสิ่งสกปรก  หรือ  สิ่งแปลกปลอมติดอยู่ในยาง

OPEN  SPLICE

หัวต่อหลุด – เปิด

-

หัวต่อติดไม่สนิท

AIR  BLISTER

พองลม

-

ระบบการ CURE ยางไม่สมบูรณ์  หรือการ  CURE  ผิดปกติ

SPREAD  CORDS

ผ้าใบแตก

-

การตัดต่อผ้า

GROOVE  CRACK

มีการแตกที่ร่องดอกยาง

-

ยางผสมไม่เข้ากัน  (POOE  MIX)

CORD  BREAKING  UP

ผ้าใบหัก

-

ยางในลมอ่อนหรือยางในลมรั่ว

LOW  BASE  GAUGE

ฐานยางช่วงTREAD บางเกินไป

-

การออกหน้ายางบาง  หรือสั้นเกินไป

SIDE  WALL  SEPARATION

แก้มยางล่อนแยก

-

มีF.M.  หรือความชื้นช่วง  SIDE WALL

 

ชื่อสาเหตุ

คำแปลภาษาไทย

คำย่อ

ลักษณะที่เกิด

CHUNK  OUT

ดอกยางหลุด

-

เนื้อยางผสมไม่เข้ากัน  (POOR  MIX)

WERLAP   TREAD  PLICE

หัวต่อสูง

-

หน้ายางที่ออกมายาวเกินไป  ทำให้ยางที่สร้างหัวต่อเกยกัน

BEAKER  ENDING SPARATION

ร่อนตรงเบรกเกอร์

BREAKER  END  SEPT

มีF.M.  หรือความชื้นอยู่ในช่วง  BREAKER  ENDING

RIM   LINE  CRACK

เป็นรอยแตกที่RIM LINE

-

มีระบบการ  CURE  ผิดปกติ